แหลมกระทิง จุดชมวิวพระอาทิตย์ตกดิน จ.ภูเก็ต

แหลมกระทิง จุดชมวิวพระอาทิตย์ตกดิน จ.ภูเก็ต

แหลมกระทิง จุดชมวิวพระอาทิตย์ตกดิน จ.ภูเก็ต

จุดชมวิวพระอาทิตย์ตกดิน แหลมกระทิง จ.ภูเก็ต นอกจากแหลมพรหมเทพ จุดชมวิวพระอาทิตย์ตกและทะเลที่ขึ้นชื่อของจังหวัดภูเก็ต ยังมีอีกหนึ่งโลเคชั่นใหม่คือ แหลมกระทิง อยู่ใกล้กับอ่าวเสน หาดในหาน สวยจนต้องร้อง ว้าว!

แหลมกระทิง การเดินทางเริ่มต้นจากบ้านกระทิงรีสอร์ท เดินเลียบกำแพงของรีสอร์ทลงไปถึงหาดในหาน เลาะชายหาดสลับโขดหินมาเรื่อยๆ ประมาณ 200 เมตร ก็จะเจอกับลานโขดหินใหญ่ ให้เราแวะถ่ายรูป ตากลม และพักเหนื่อยกันสักพัก เซฟพลังก่อนเดินขึ้นเขา!

เก็บภาพบรรยากาศบนลานโขดหินใหญ่เสร็จแล้ว ให้เบี่ยงตัวไปทางขวา ไต่ระดับขึ้นไปตามทางแคบๆ ซึ่งเป็นเส้นทางที่นักตกปลาใช้เดินกัน ตรงนี้ทางค่อนข้างจะอันตราย และเดินยากพอสมควร เพราะเป็นทุ่งหญ้าริมหน้าผา มองลงไปก็เจอทะเล เล่นเอาเสียวอยู่ไม่น้อย

ไม่กี่อึดใจ ประมาณ 30-45 นาที เราก็จะเดินจนถึงสุดปลายแหลม ที่มีวิวทุ่งหญ้าสีเขียวปนน้ำตาล และโขดหินตะปุ่มตะป่ำกระจัดกระจายไปทั่ว สามารถมองเห็นทะเลอันดามันได้กว้างไกล 360 องศา รวมไปถึงแหลมพรหมเทพฝั่งตรงข้ามด้วย ฟิลกู๊ดมากๆ >< ufabet

และไฮไลท์ที่คนมักขึ้นไปนั่งถ่ายภาพกันเท่ๆ ก็คือ หินเรือใบ เป็นหินประหลาด ยอดแหลมชี้ขึ้นฟ้า รูปร่างคล้ายเรือใบ เหมือนกับที่โมโกจูเลย แต่ไม่ต้องไปไกลถึงนู่น ก็เห็นได้ ที่ภูเก็ต ภาคใต้บ้านเรา

นี่แหละสิ่งที่ธรรมชาติสร้างสรรค์มักสวยงามเสมอ แนะนำว่าเมื่อชมพระอาทิตย์ตกดินเสร็จให้รีบกลับ เพราะถ้ามืดมากจะเดินลำบากและอาจลงไปลอยคอตุ๊บป่องอยู่ในทะเลได้ค่ะ

แหลมกระทิง จุดชมวิวพระอาทิตย์ตกดิน จ.ภูเก็ต

จุดชมวิวแห่งใหม่ของจังหวัดภูเก็ต มองเห็นทะเลอันดามันเกือบ 360 องศา สำหรับใครที่อยากเดินทางมายังจุดชมวิวแห่งนี้ อาจต้องเดินทางมาตั้งแต่ช่วงบ่าย ๆ เพราะหากมาหลังพระอาทิตย์ตกจะมืดมาก และเดินลำบาก โดยเริ่มต้นเส้นทางผ่านหาดในหานมาทางอ่าวเสน หรือจะเริ่มต้นที่อ่าวเสน หรือเดินขึ้นไปทางกำแพงเล็ก ๆ ก่อนถึงบ้านกระทิงรีสอร์ทก็ได้ แนะนำให้ใส่รองเท้าผ้าใบ เพราะคุณจะต้องเดินผ่านโขดหิน ซึ่งอาจเผลอลื่นและเป็นอันตรายได้ ตลอดทางคุณจะมองเห็นวิว ที่ทำให้คุณต้องร้องว้าว ! ประมาณ 45 นาที ก็จะถึงแหลมกระทิง และอย่างที่บอกไปแล้วว่าทางกลับค่อนข้างมืด เราจึงไม่แนะนำให้อยู่ดูพระอาทิตย์ตกดิน

พูดถึงจังหวัดภูเก็ต ตอนนี้มีสถานที่เที่ยวใหม่ๆเกิดขึ้นมากมายครบ วันนี้ผมขอมาแนะนำจุดชมวิวแห่งใหม่ทีมีชื่อว่า “แหลมกระทิง”

ตอนนี้ผมยกให้ที่นี่เป็นจุดที่สวยที่สุดอีกแห่งหนึ่งของเกาะภูเก็ตเลย เพราะจากจุดนี้จะมองเห็นทะเลอันดามันครบเกือบจะ 360 องศาเลยครับ ถ้ามาถึงต้องไปลอง สวยจริง คอนเฟิร์มครับ

ตำแหน่ง GPS : 7.775897, 98.288499
เวลาที่น่ามา ช่วงเวลา 15.00 จนถึงพระอาทิตย์ตก เพราะแดดจะทำมุมสวยเป๊ะพอดีปิดท้ายที่ดูพระอาทิตย์ตกพอดี

การเริ่มต้นเดินที่แหลมกระทิงถือว่าเป็นการเทรคเล็กๆเลยก็ได้ครบ

ก่อนจะเริ่มเดิน โปรดเตรียมน้ำเปล่าติดตัวไปด้วยอย่างก็ 1 ขวดเล็กนะครับ

และรองเท้าที่เอาไปควรจะเป็นรองเท้าที่พื้นรองเท้ายึดกับพื้นได้ดี

และช่วงเวลาเดินทางควรจะเป็นในวันที่แสงแดดแรงและฟ้าใสนะครับ

วันไหนฟ้ามัวเหมือนจะฝนไม่ควรมาอย่างเด็ดขาดเพราะเส้นทางจะค่อนข้างลื่นและอันตรายครับ

จังหวัดภูเก็ต

ภูเก็ต เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคใต้ของประเทศไทย และเป็นเกาะขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อยู่ในทะเลอันดามัน จังหวัดที่ใกล้เคียงทางทิศเหนือ คือ จังหวัดพังงา ทางทิศตะวันออก คือ จังหวัดพังงาและจังหวัดกระบี่ ทั้งเกาะล้อมรอบด้วยมหาสมุทรอินเดีย และยังมีเกาะที่อยู่ในอาณาเขตของจังหวัดภูเก็ตทางทิศใต้และตะวันออก การเดินทางเข้าสู่ภูเก็ตนอกจากทางเรือแล้ว สามารถเดินทางโดยรถยนต์ซึ่งมีเพียงเส้นทางเดียวผ่านทางจังหวัดพังงา โดยข้ามสะพานสารสินและสะพานคู่ขนาน คือ สะพานท้าวเทพกระษัตรีและสะพานท้าวศรีสุนทร เพื่อเข้าสู่ตัวจังหวัด และทางอากาศโดยมีท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ตรองรับ ท่าอากาศยานนี้ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะ

คำว่า ภูเก็ต คาดว่าน่าจะเพี้ยนมาจากคำว่า บูกิต และคำว่า “ภูเขา” ในภาษาอุรักลาโว้ย เรียกว่า “บูเก๊ะ” หรือที่เคยรู้จักแต่โบราณในนาม เมืองถลาง

เดิมคำว่าภูเก็ตนั้นสะกดว่า ภูเก็จ

ซึ่งแปลได้ว่า เมืองแก้ว จึงใช้ตราเป็นรูปภูเขา (ภู) มีประกายแก้ว (เก็จ) เปล่งออกเป็นรัศมี (ดูตราที่ผ้าผูกคอลูกเสือ) ตรงกับความหมายเดิมซึ่งชาวทมิฬเรียก มณิครัม ตามหลักฐาน พ.ศ. 1568 ภูเก็ตเป็นที่รู้จักของนักเดินเรือที่ใช้เส้นทางระหว่างจีนกับอินเดีย โดยผ่านแหลมมลายู หลักฐานที่เก่าแก่ที่สุดก็คือ หนังสือภูมิศาสตร์และแผนที่เดินเรือของคลอดิอุส ปโตเลมี เมื่อประมาณ พ.ศ. 700 กล่าวถึงการเดินทางจากแหลมสุวรรณภูมิลงมาจนถึงแหลมมลายู ซึ่งต้องผ่านแหลม จังซีลอน หรือเกาะภูเก็ต (เกาะถลาง) นั่นเอง[ต้องการอ้างอิง] สล็อต เครดิตฟรี 100 ไม่ต้องแชร์

จากประวัติศาสตร์ไทย ภูเก็ตเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรตามพรลิงก์ อาณาจักรศรีวิชัย สืบต่อมาจนถึงสมัยอาณาจักรนครศรีธรรมราชเรียกเกาะภูเก็ตว่า เมืองตะกั่วถลาง เป็นเมืองที่ 11 ใน 12 เมืองนักษัตร โดยใช้ตราเป็นรูปสุนัข จนถึงสมัยสุโขทัย เมืองถลางไปขึ้นกับเมืองตะกั่วป่า ในสมัยอยุธยา ชาวฮอลันดา ชาวโปรตุเกส และชาวฝรั่งเศส ได้สร้างสถานที่เก็บสินค้าเพื่อรับซื้อแร่ดีบุกจากเมืองภูเก็ต (ถลาง)

ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้เกิดสงครามเก้าทัพขึ้น พระเจ้าปดุง กษัตริย์ของประเทศพม่าในสมัยนั้น ได้ให้แม่ทัพยกทัพมาตีหัวเมืองปักษ์ใต้ เช่น ไชยา นครศรีธรรมราช และให้ยี่หวุ่นนำกำลังทัพเรือพล 3,000 คนเข้าตีเมืองตะกั่วป่า เมืองตะกั่วทุ่ง และเมืองถลาง ซึ่งขณะนั้นเจ้าเมืองถลาง (พญาพิมลอัยาขัน) เพิ่งถึงแก่อนิจกรรม ท่านผู้หญิงจัน ภรรยา และคุณมุก น้องสาว จึงรวบรวมกำลังต่อสู้กับพม่าจนชนะเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2328 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ท่านผู้หญิงจันเป็น ท้าวเทพกระษัตรี และคุณมุกเป็นท้าวศรีสุนทร

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้รวบรวมหัวเมืองชายทะเลตะวันตกตั้งเป็น มณฑลภูเก็ต และเมื่อปี พ.ศ. 2476 ได้ยกเลิกระบบมณฑลเทศาภิบาล เปลี่ยนมาเป็นจังหวัดภูเก็ต แทงบอลออนไลน์ ที่นี่ยูฟ่าเบท

อ่านเพิ่มเติมได้ที่ เที่ยวไทย